Test

ปัจจัยความสาเร็จ แนวทาง พัฒนาระบบกฎหมายเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์

ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการการเคหะแห่งชาติ ประจาปีงบประมาณ 2564 (ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กรด้วยองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ดิจิทัล, โครงการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และบริหารจัดการนวัตกรรม) การลดจานวนทรัพยากรบุคคล และใช้เทคโนโลยีประดิษฐ์ AI ทดแทนจัดเป็นการบริหารทรัพยากรองค์กรที่คุ้มค่า โดยมุ่งหวังประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความถูกต้อง แม่นยา ความสาเร็จของงานเป็นสาคัญ แม้ว่าในระยะเริ่มต้นจะมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูง แต่จะหมดปัญหาเรื่องความรับผิดชอบตามกฎหมาย สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ ภูมินทร์ บุตรอินทร์ (กฎหมายกับปัญญาประดิษฐ์,2561, น.493) การนา AI มาใช้ในทุกภาคส่วน ส่งผลต่อการเลิกจ้างแรงงานเนื่องจากต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าเมื่อเปรียบเทียบกัน เช่น ไม่ต้องทาสัญญาจ้างแรงงาน ไม่ต้องจ่ายค่าล่วงเวลา ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย รวมถึงปัญหาการฟ้องร้องคดีที่อาจเกิดขึ้นในภายหลัง และปัญหาเรื่อง “สถานะทางกฎหมาย”เป็น “บุคคลอิเล็กทรอนิกส์” ซึ่งมีความสามารถทางกฎหมายบางอย่างเสมือนกับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลตามกฎหมาย หรือ การตีความให้ปัญญาประดิษฐ์เป็น “ทรัพย์สิน” ตามระบบกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา จึงเป็นแนวทางสาคัญที่ควรนามาพิจารณา

Visitors 354 views
Rates

Average0.00Score

Comment

0 Comment

RELATED DEPARTMENT

  • Banner ส่วนท้าย 1
  • Banner ส่วนท้าย 2
  • Banner ส่วนท้าย 3
  • Banner ส่วนท้าย 4
  • Banner ส่วนท้าย 5
  • Banner ส่วนท้าย 6
  • Banner ส่วนท้าย 7
  • Banner ส่วนท้าย 8
  • ศูนย์ข้อมูลที่อยู่อาศัยแห่งชาติ
  • ป้ายโฆษณา